|
|
|
ความเป็นอยู่โดยทั่วไปของประชาชนในตำบลหนองแซง จะอาศัยกระจายอยู่ตามพื้นที่ของตนเพื่อการประกอบอาชีพ และบางหมู่บ้านจะรวมตัวอยู่กันเป็นชุมชนมีการถ้อยทีถ้อยอาศัย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน อีกทั้งประชาชนในตำบลหนองแซงยังยึดถือการดำเนินชีวิตแบบพอเพียง ตามแนวทางพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ คือ พออยู่ พอกิน พอใช้ และชาวตำบลหนองแซง ยังมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ถือเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ สืบต่อกันมาช้านาน
|
|
|
|
|
 |
|
สถาบันและองค์กรทางศาสนา จำนวน 11 แห่ง |

 |
วัดอรัญญวาสี |
หมู่ที่ 2 |

 |
วัดหนองแซง |
หมู่ที่ 3 |

 |
วัดหนองโสน |
หมู่ที่ 5 |

 |
วัดป่าดงเย็น |
หมู่ที่ 5 |

 |
วัดสระดู่ |
หมู่ที่ 6 |

 |
วัดศรีเจริญธรรม |
หมู่ที่ 7 |

 |
วัดป่ามณีวรรณ |
หมู่ที่ 8 |

 |
วัดชัฏฝาง |
หมู่ที่ 10 |

 |
วัดธรรมวิจิตร |
หมู่ที่ 11 |

 |
วัดรังดู่ |
หมู่ที่ 12 |

 |
วัดตลุกเทื้อม |
หมู่ที่ 13 |
|
|
|
 |
|
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง |

 |
โรงเรียนวัดหนองแซง |
หมู่ที่ 3 |

 |
โรงเรียนวัดสระดู่ |
หมู่ที่ 6 |

 |
โรงเรียนวัดศรีเจริญธรรม |
หมู่ที่ 7 |
โรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาส จำนวน 3 แห่ง |

 |
โรงเรียนวัดอรัญญวาสี |
หมู่ที่ 2 |

 |
โรงเรียนบ้านชัฏฝาง |
หมู่ที่ 10 |

 |
โรงเรียนดอนสีนวน |
หมู่ที่ 11 |
ศูนย์พัฒนาเด็กล็กในสังกัด จำนวน 3 แห่ง |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กล็กบ้านดอนไร่ |
หมู่ที่ 2 |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กล็กบ้านดอนสีนวน |
หมู่ที่ 11 |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กล็กบ้านชัฎฝาง |
หมู่ที่ 10 |
|
|
|
|
|
 |
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หนองแซง |
หมู่ที่ 1 |

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านดอนสีนวน |
หมู่ที่ 11 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
 |
|

 |
ป้อมตำรวจ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ภูมิปัญญา |

 |
ประเพณีการทำบุญกลางบ้าน เพื่ออุทิศให้กับดวงวัญญาณบรรพบุรุษที่เสียชีวิตไป แล้วให้คอยปกปักรักษาลูกหลานให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุขสืบไป |

 |
ประเพณีแห่นาคทรงม้าสีหมอกจำลองโดยใช้คนแบก เพราะมีความเชื่อว่าผู้ที่บวชเปรียบเหมือนเจ้าชายสิทธัตถะ หรือพระพุทธเจ้า ขี่ม้าหนีจากโลกเพื่อมุ่งหาหนทางแห่งความสงบ |
|
|
|
|
อย่างถาวร ปัจจุบันลูกหลานบ้านดอนสีนวนที่อายุครบอุปสมบทจะได้เห็นประเพณีนาคทรงม้าอยู่จนถึงปัจจุบัน |
|
ภาษาถิ่น |
|

 |
ประชาชนในพื้นที่ เขตที่ 2 มีการใช้ภาษาถิ่นเป็นภาษาลาวยวน เพราะมีการอพยพเข้ามาอยู่อาศัยของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวยวน ซึ่งอพยพมาจากเมืองเชียงแสนและย้ายถิ่นฐานมาอยู่ที่จังหวัดนครปฐมและย้ายมาเมื่อ พ.ศ.2484 มาตั้งถิ่นฐานจำนวน 4 ครอบครัว และอพยพตามมาอีกหลายสิบครอบครัว อาศัยอยู่บริเวณหมู่ที่ 11 และหมู่ที่ 19 ปัจจุบันยังคงหลงเหลือภาษาพูดและวัฒนธรรมประเพณีบางอย่างไว้ |
|
|